ฝังเข็มลดปวด กับแพทย์แผนจีน

05 เมษายน 2565


ฝังเข็มลดปวด

不通则痛 , 通则不痛 ”  เป็นวลีที่พบบ่อยในตำราของศาสตร์การแพทย์แผนจีน มีความหมายว่า การติดขัดทำให้เกิดอาการปวด เมื่อไม่ติดขัดแล้วก็จะไม่ปวด ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดการติดขัดนั้นมีได้หลายอย่าง เช่น การได้รับสิ่งก่อโรคจากภายนอก - ความเย็น ความชื้น ลม หรืออุบัติเหตุ เป็นต้น และสิ่งก่อโรคจากภายใน - อารมณ์หรืออวัยวะภายในเสียสมดุล ตรากตรำทำงานหนัก พักผ่อนไม่เพียงพอ เป็นต้น โดยปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดอาการปวดต่างๆ เช่น ปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า สะบัก , ปวดหลัง , ปวดศีรษะ  เป็นต้น

 

การฝังเข็มนั้นช่วยให้เลือดและลมปราณไหลเวียนดีขึ้น ทั้งนี้ยังช่วยบำรุงเลือดและลมปราณให้มาหล่อเลี้ยงได้ดีขึ้นอีกด้วย จึงช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดีและมีประสิทธิภาพโดยไม่มีผลข้างเคียงจากการใช้ยา ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ว่าการฝังเข็มนั้นช่วยลดอาการอักเสบ , เพิ่มการไหลเวียนของเลือด , กระตุ้นการหลั่งเอนโดรฟิน ส่งผลให้บรรเทาอาการปวดได้ดี โดยองค์การอนามัยโลกและสถาบันการแพทย์ชั้นนำได้ให้การรับรองเป็นอย่างดี


พจ.เมฆินทร์ พจน์พิศุทธิพงศ์

ความชำนาญ : เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ข้อมูลเพิ่มเติม

แพ็คเกจที่เกี่ยวข้อง

ดูทั้งหมด

แพ็กเกจการคลอดแบบพรีเมียม
รพ.สมิติเวชชลบุรี

ข้อมูลเพิ่มเติม

ตรวจคุณภาพการนอนหลับที่บ้าน (Watch PAT)

ข้อมูลเพิ่มเติม

โปรแกรมตรวจสุขภาพ Happy Life Program

ข้อมูลเพิ่มเติม

วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์ (Fast track)

ข้อมูลเพิ่มเติม

วัคซีน มือ เท้า ปาก EV71 สำหรับเด็ก 6 เดือน - 5 ปี

ข้อมูลเพิ่มเติม

วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก 4 สายพันธุ์ (3 เข็ม) HPV vaccine-4 valent

ข้อมูลเพิ่มเติม

ประเมินความเสี่ยงโรคอัลไซเมอร์โดยนักกิจกรรมบำบัด

ข้อมูลเพิ่มเติม

วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์

ข้อมูลเพิ่มเติม

ตรวจคุณภาพการนอนหลับที่บ้าน (Watch PAT)

ข้อมูลเพิ่มเติม

Long Covid (ตรวจสุขภาพหลังป่วยโควิด)

ข้อมูลเพิ่มเติม

วัคซีน Moderna สำหรับอายุ 12 ปีขึ้นไป

ข้อมูลเพิ่มเติม

โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนดำน้ำ

ข้อมูลเพิ่มเติม

ตรวจหาเชื้อและภูมิไวรัสตับอักเสบ เอ บี และซี

ข้อมูลเพิ่มเติม

โปรแกรมตรวจฮอร์โมนเพศหญิงภาวะประจำเดือนมาไม่ปกติ

ข้อมูลเพิ่มเติม

โปรแกรมฟื้นฟูร่างกายหลังหายจากโควิด-19

ข้อมูลเพิ่มเติม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ดูทั้งหมด

เมื่อลูกน้อย...เท้าบิดหมุนเข้าใน

เด็กที่เดินแล้วมีปลายเท้าชี้เข้าหากัน เกิดจากการบิดหมุนของขาตั้งแต่สะโพกลงมา มีลักษณะการเดินผิดปกติและปัญหาเรื่องความสวยงามของขาที่ผิดรูป การตัดรองเท้าอาจพิจารณาในรายที่เป็นมากจนเท้าสะดุดกันเองเวลาวิ่ง เด็กที่มีเท้าบิดหมุนเข้าใน เด็กที่เดินแล้วมีปลายเท้าชี้เข้าหากันเกิดจากการบิดหมุนของขาตั้งแต่สะโพกลงมา แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ต้นขา หน้าแข้ง และเท้า แต่ละส่วนมีแนวทางการตรวจติดตาม และรักษา แตกต่างกันเล็กน้อย การบิดหมุนของส่วนต้นขา พบมากที่สุด ส่วนใหญ่จะหายได้เอง ก่อนอายุ 10 ปี การดัดและการตัดรองเท้า ไม่ช่วยในการหาย พยายามเลี่ยงการนั่งในท่า W แต่ไม่จำเป็นต้องให้นั่งขัดสมาธิ ในเด็กที่ทำไม่ได้ อาจให้นั่งเหยียดขาแทนเวลานั่งพื้น การตัดรองเท้าอาจพิจารณาในรายที่เป็นมากจนเท้าสะดุดกันเองเวลาวิ่ง การผ่าตัดอาจไม่จำเป็นถ้าไม่มีปัญหาในการดำรงชีวิต และหากจะทำควรทำเมื่อเด็กโตมากแล้ว การบิดหมุนของหน้าแข้ง พบได้น้อยเมื่อเทียบกับบริเวณอื่น ส่วนใหญ่จะหายเองก่อนอายุ 4 ปี การรักษาเบื้องต้นเพียงติดตามอาการเท่านั้น การผ่าตัดอาจไม่จำเป็นถ้าไม่มีปัญหาในการดำรงชีวิต และหากจะทำควรทำเมื่อเด็กโตมากแล้ว การบิดหมุนที่เท้า พบได้ค่อนข้างบ่อย สังเกตได้จากเท้าจะโค้งคล้ายกล้วย ถ้าสามารถดัดได้ง่าย โอกาสหายเองสูง ถ้าดัดได้ยากอาจพิจารณาใส่เฝือกหรือตัดรองเท้าช่วย ส่วนใหญ่หายเองก่อน 4 ขวบ ในกรณีที่ยังเป็นจนโต อาจพิจารณาผ่าตัดในรายที่มีปัญหาการใส่รองเท้า และกังวลเรื่องความสวยงาม